วันอาทิตย์ที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2559

มงคลสูตรคำฉันท์

            มงคลสูตรคำฉันท์  มงคลสูตรคำฉันท์  เป็นวรรณคดี  คำสอน  ผลงานพระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ทรงนำหลักธรรม ที่เป็นพระคาถาบาลีจากพระไตรปิฏกตั้งแล้วแปลถอดความเป็นคำประพันธ์ที่ ไพเราะ  มีความงดงามทั้งด้านเสียงและความหมาย  สามารถจดจำได้ง่าย  มงคลสูตรคำฉันท์นี้จะเกิดแต่ตัวเราเองได้ก็ต้องเป็นผ              อ่านเพิ่มเติม

 นมัสการอาจริยคุณ

                                                                 นมัสการอาจริยคุณ

                                                 อนึ่งข้าคำนับน้อม               ต่อพระครูผู้การุญ
                                 โอบเอื้อและเจือจุน                        อนุสาสน์ทุกสิ่งสรรพ์
                                  ยัง บ ทราบก็ได้ทราบ                   ทั้งบุญบาปทุกสิ่งอัน
                                 ชี้แจงและแบ่งปัน                            ขยายอัตถ์ให้ชัดเจน
                                 จิตมากด้วยเมตตา                          และกรุณา บ เอียงเอน
                                 เหมือนท่านมาแกล้งเกณฑ์        ให้ฉลาดและแหลมคม
                                 ขจัดเขลาบรรเทาโม-                     หะจิตมืดที่งุนงม
                                 กังขา ณ อารมณ์                            ก็ส  อ่านเพิ่มเติม

นมัสการมาตาปิตุคุณ

                                                 นมัสการมาตาปิตุคุณ

                                          ข้าขอนบชนกคุณ                ชนนีเป็นเค้ามูล
                                ผู้กอบนุกูลพูน                             ผดุงจวบเจริญวัย
                                ฟูมฟักทะนุถนอม                       บ บำราศนิราไกล
                                แสนยากเท่าไรไร                      บ คิดยากลำบากกาย                                        
                                ตรากทนระคนทุกข์                    ถนอมเลี้ยง ฤ รู้วาย
                                ปกป้องซึ่งอันตราย                    จนได้รอดเป็นกายา
                                เปรียบหนักชนกคุณ                   ชนนีคือภูผา
                                ใหญ่พื้นพสุนธรา                         ก็  อ่านเพิ่มเติม

คำนมัสการคุณานุคุณ

            คำนมัสการคุณานุคุณ เป็นผลงานการประพันธ์ของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อยอาจารยางกูร) มีเนื้อหาว่าด้วยการน้อมรำลึกและสำนึกในคุณงามความดีของพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ บิดามารดา และครูอาจารย์ โดยมีความมุ่งหมายให้ผู้อ่าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเยาวชนไ อ่านเพิ่มเติม

นิทานเวตาล เรื่องที่ 10

             นิทานเวตาล (สันสกฤต: वेतालपञ्चविंशति เวตาลปัญจวิงศติ แปลว่า นิทานเวตาล 25 เรื่อง) เป็นวรรณกรรมสันสกฤตโบราณ ซึ่งเล่าขานโดยกวีชื่อ ศิวทาส และได้ถูกเล่าขานกันต่อมากว่า 2,500 ปีล่วงมาแล้ว โครงเรื่องหลักของนิทานเรื่องนี้เป็นเรื่องการโต้ตอบตอบปัญหาระหว่างพระวิกรมาทิตย์ กษัตริย์แห่งกรุงอุชชิยนี กับเวตาล ปีศ อ่านเพิ่มเติม

วันอาทิตย์ที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2559

อิเหนา ตอน ศึกกะหมังกุหนิง ประวัติผู้แต่ง

            ประวัติผู้แต่ง อิเหนาเป็นบทละครรำพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยมหาราช รัชกาลที่ ๒ แห่งพระบรมราชวงศ์จักรี ตลอดระยะเวลาที่พระองค์ทรงครองราชย์ เป็นสมัยที่วรรณคดีเจริญที่สุดในสมัยนี้หลาย เรื่องได้รับการยกย่องว่าเป็นยอดของวรรณค อ่านเพิ่มเติม



อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง

            ความเป็นมา  อิเหนา เป็นวรรณคดีที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ ซึ่งชาวชวาได้แต่งขึ้นเอเฉลิมพระเกียรติแด่พระมหากษัตริย์ ชวาพระองค์นี้ทรงนำความเจริญให้แก่ชาวชวา ซึ่งพระองค์เป็นทั้งนักรบ นักปกครอง และพระองค์ทรงมี พระราชธิดา ๑ พระองค์ และพระราชโอรส ๒ พระองค์ เมื่อพระราชธิดาของพ อ่านเพิ่มเติม



ประวัติผู้แต่ง นิราศนรินทร์

         ผู้แต่ง ผู้แต่งนิราศนรินทร์ คือนายนรินทรธิเบศร์ (มิใช่ชื่อตัว แต่เป็นบรรดาศักดิ์ในสมัยโบราณ) มีนามเดิมว่า อิน ในตำรารุ่นเก่า มักเขียนเป็น นายนรินทรธิเบศร์ (อิน) ได้แต่งนิราศเรื่องนี้เมื่อคราวตามเสด็จสมเด็จพระบวรราชเจ้า มหาเสนานุร อ่านเพิ่มเติม

นิราศนรินทร์

              นิราศนรินทร์ เป็นวรรณคดีในยุครัตนโกสินทร์ตอนต้น ประเภทนิราศ ที่จัดว่าแต่งได้ดี โดยกระทรวงศึกษาธิการได้คัดมาให้นักเรียนได้ศึกษากันในชั้นเรียน และมีบทโคลงที่ใช้เป็นแบบแผนของโคลงสี่สุภาพด้  อ่านเพิ่มเติม

โคลง 4 สุภาพ

โคลงสี่สุภาพ เป็นโคลงชนิดหนึ่งที่กวีนิยมแต่งมากที่สุด ด้วยเสน่ห์ของการบังคับวรรณยุกต์เอกโทอันเป็นมรดกของภาษาไทยที่ลงตัวที่สุด คำว่า สุภาพ หรือ เสาวภาพ หมายถึงคำที่มิได้มีรูปวรรณย อ่านเพิ่มเติม